วันเสาร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

งาน


การใช้เครื่องมือ photoshop cs4





ข้อ1 ส่วนประกอบของโปรแกรม photoshop cs4 ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ส่วนประกอบของโปรแกรม


 แอพพลิเคชั่นบาร์(Application Bar)
          
          จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อยๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพ, จัดเรียงวินโดว์ภาพและจัดองค์ประกอบของเครื่องมือ

เมนูบาร์(Menu Bar)



          Menu Bar หรือแถบคำสั่งที่เก็บชุดคำสั่งสำหรับจัดการไฟล์งานที่เปิดใช้งาน ใน Photoshop Cs4 โดยแบ่งการทำงานออกเป็นหมวดหมู่ดังนี้



1. File ใช้จัดการไฟล์ลักษณะต่างๆเช่น การสร้างไฟล์ใหม่,การเปิดไฟล์ภาพ,การบันทึก,การนำเข้าไฟล์      และการส่งออกไฟล์เพื่อการทำงานในลักษณะต่างๆ

2. Edit เป็นชุดคำสั่งในหมวดหมู่การแก้ไข เช่น การตัด ,คัดลอก,การวาง รวมถึงการปรับแต่งค่าเบื่องต้นของโปรแกรม

3.  Image เป็นชุดคำสั่งในหมวดหมู่การปรับแต่งภาพ เช่นการปรับสี ,แสง, ความคมชัด ,การลดขนาดภาพและเพิ่มขนาดพื้นที่ใช้งาน เป็นต้น

4.  Layer เป็นชุดคำสั่งที่ใช้จัดการกับเลเยอร์ ทั้งการสร้างเลเยอร์ใหม่ แปลงเลเยอร์และจัดการเลเยอร์ด้านต่างๆ

5.  Select เป็นชุดคำสั่งที่ใส้สำหรับเลือกพื้นที่การใช้งานของรูปภาพ หรือใช้ร่วมกับคำสั่งที่อยู่ในทูลพาเนล

6.  Filter เป็นนชุดคำสั่งที่รวมเอฟเฟ็คต่างที่ใช้ในการปรับแต่งรูปภาพให้พิเศษกว่าภาพต้นฉบับ

7.  Analysis เป้นเครื่องมือวัดค่าและวิเคราะห์การทำงาน มีใช้ในPhotoshop CS4

8.  3D รวมคำสั่งที่ใช้กับภาพสามมิติ เป็นเมนูใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในPhotoshop CS4

9.  View ใช้เลือกรูปแบบการแสดงผล เช่น การซูมภาพ,การเรียกใช้ไม่บรรทัด,การแสดงเส้นกริดและเส้นไกด์

10.  Window ใช้เลือกแสดงพาเนลที่ใช้ในการทำงาน รวมถึงการกำหนดรูปแบบการแสดงวินโดว์ในแบบต่างๆ

11.  Help ใช้แสดงความช่วยเหลือของรายละเอียดการใช้งานโปรแกรมในรูปแบบต่างๆ

ทูลบ็อกซ์ (Toolbox)

          กล่องเครื่องมือ จะประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้ายๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน



Panel (พาเนล)


          พาเนล คือ กรอบหน้าต่างย่อยๆที่มีคำสั่งและเครื่องมือในการจัดการ ตรวจสอบและปรับแต่งภาพ เครื่องมือเหล่านี้จะถูกจัดแบ่งไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น พาเนล Color ใช้กำหนดสี , พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการเลเยอร์ เป็นต้น บางพาเนลที่มักใช้ร่วมกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color พาเนล Swatches และ StyLes การเปิดใช้งาน Panel ให้คลิกที่คำสั่ง Windos>ชื่อพาเนล



การยุบ/ขยายพาเนล

          เพื่อเพิ่มพื้นที่การทำงานเราสามารถยุบพาเนลที่ยึดกับแผงพาเนลและคอลัมน์ให้แสดงในรูปไอคอนได้ ซึ่งเมื่อต้องการใช้งานพาเนลใดก็ให้เปิดขึ้นมาเฉพาะพาเนลนั้น

1.  ยุบ/ขยายแผงพาเนลให้เป็นไอคอน ทำได้โดยให้คลิกที่แถบสีเทาเข้มด้านบนแผงพาเนล จากนั้นทุกพาเนลจะถูกยุบเป็นไอคอน




2.ปรับความกว้างของพาเนล




ข้อ 2 เครื่องมือสำคัญสำหรับใช้แต่งภาพประกอบไปด้วยกลุ่มเครื่องมืออะไรบ้าง

  กล่องเครื่องมือ Toolbox ซึ่งประกอบด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการวาดภาพ ตกแตกแต่งภาพ และแก้ไข ภาพ โดยบนปุ่มหนึ่ง ๆ จะมีปุ่มที่ซ่อนด้วยหลายเครื่องมือ หลายชิ้นอยู่รวมกัน
  การเปิด / ปิด Toolbox ทำได้โดยเลือกคำสั่ง Window > Tools
          กล่องเครื่องมือ Toolbox สำหรับการตกแต่งภาพ ประกอบด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ดังนี้
เครื่องมือกลุ่ม Marquee
เครื่องมือกลุ่ม Dodge

เครื่องมือกลุ่ม Lasso
เครื่องมือกลุ่ม Palth Selection
เครื่องมือกลุ่ม Slice
เครื่องมือกลุ่ม Pen
เครื่องมือกลุ่ม Healing Brush
เครื่องมือกลุ่ม Type
เครื่องมือกลุ่ม Stamp
เครื่องมือกลุ่ม History Brush
เครื่องมือกลุ่ม Rectangel
เครื่องมือกลุ่ม Gradient
เครื่องมือกลุ่ม Note
เครื่องมือกลุ่ม Eyedropper
เครื่องมือกลุ่ม Blur

   รายละเอียดของเครื่องมือที่ใช้สำหรับตกแต่งรูปภาพ มีดังนี้
1.
  กลุ่มเครื่องมือการเลือก (Selection) ประกอบด้วย
Marquee
ใช้สำหรับเลือกพื้นที่บนภาพเป็นรูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี หรือเลือกเป็นแถว
คอลัมน์ขนาด 1 พิเซล
Move
ใช้สำหรับย้ายพื้นที่ที่เลือกไว้ของภาพ หรือย้ายภาพในเลเยอร์หรือย้าย
เส้นไกด์
Lasso
ใช้เลือกพื้นที่บนภาพเป็นแนวเขตแบบอิสระ
Magic Wand
ใช้เลือกพื้นที่ด้วยวิธีระบายบนภาพ หรือเลือกจากสีที่ใกล้เคียงกัน
Crop
ใช้ตัดขอบภาพ
Slice
ใช้ตัดแบ่งภาพเพื่อบันทึกไฟล์ภาพย่อย ๆ ที่เรียกว่าสไลซ์ (Slice)
สำหรับนำไปสร้างเว็บเพจ
2.
กลุ่มเครื่องมือการแก้ไข (Edit) ประกอบด้วย
Healing Brush
ใช้ตกแต่งลบรอยตำหนิในภาพ
Clone Stamp
ใช้ทำสำเนาภาพ โดยก๊อปปี้ภาพจากบริเวณอื่นมาระบาย หรือ
ระบายด้วยลวดลาย
History Brush
ใช้ระบายภาพด้วยภาพของขั้นตอนเดิมที่ผ่านมา หรือภาพของสถานะ
เดิมที่บันทึกไว้
Eraser
ใช้ลบภาพบางส่วนที่ไม่ต้องการ
Gradient
ใช้เติมสีแบบไล่ระดับโทนสีหรือความทึบ
Blur
ใช้ระบายภาพให้เบลอ
Brush
ใช้ระบายลงบนภาพ
Dodge
ใช้ระบายเพื่อให้ภาพสว่างขึ้นหรือมืดลง
3.
กลุ่มเครื่องมือการสร้าง (Create) ประกอบด้วย
Pen
ใช้วาดเส้นพาธ (Path)
Horizontal Type
ใช้พิมพ์ตัวอักษรหรือข้อความลงบนภาพ
Path Selection
ใช้เลือกและปรับแต่งรูปทรงของเส้นพาธ
Rectangle
ใช้วาดรูปทรงเรขาคณิตหรือรูปทรงสำเร็จรูป
4.
กลุ่มเครื่องมือมุมมอง (View) ประกอบด้วย
Notes
ใช้บันทึกหมายเหตุกำกับภาพที่เป็นข้อความหรือเสียง
Eyedropper
ใช้เืลือกสีจากสีต่าง ๆ บนภาพ
Hand
ใช้เลื่อนดูส่วนต่าง ๆ ของภาพ
Zoom
ใช้ย่อหรือขยายมุมมองภาด
5.
กลุ่มเครื่องมือเลือกสี (Color) ประกอบด้วย
Set Foreground Color, Set Background Color ใช้สำหรับกำหนดสี
Foreground Color และ  Background Color


ข้อ 3 คอมพิวเตอร์กราฟิกส์หมายถึง
คำว่า กราฟิก (Graphic) มาจากภาษากรีก 2 คำคือ
1. Graphikos หมายถึง การวาดเขียน
2. Graphein หมายถึง การเขียน
ต่อมามีผู้ให้ความหมายของคำว่า “กราฟิก” ไว้หลายประการซึ่งสรุปได้ดังนี้
........กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
กราฟิกประกอบด้วย
1. ภาพบิตแมพ (Bitmap) เป็นภาพที่มีการเก็บข้อมูลแบบพิกเซล หรือจุดเล็กๆ ที่แสดงค่าสี ดังนั้นภาพหนึ่งๆ จึงเกิดจากจุดเล็กๆ หลายๆ จุดประกอบกัน (คล้ายๆ กับการปักผ้าครอสติก) ทำให้รูปภาพแต่ละรูป เก็บข้อมูลจำนวนมาก เมื่อจะนำมาใช้ จึงมีเทคนิคการบีบอัดข้อมูล ฟอร์แมตของภาพบิตแมพ ที่รู้จักกันดี ได้แก่ .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF
2. ภาพเวกเตอร์ (Vector) เป็นภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นลักษณะต่างๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเส้นนั้นๆ ซึ่งสร้างจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น ภาพของคน ก็จะถูกสร้างด้วยจุดของเส้นหลายๆ จุด เป็นลักษณะของโครงร่าง (Outline) และสีของคนก็เกิดจากสีของเส้นโครงร่างนั้นๆ กับพื้นที่ผิวภายในนั่นเอง เมื่อมีการแก้ไขภาพ ก็จะเป็นการแก้ไขคุณสมบัติของเส้น ทำให้ภาพไม่สูญเสียความละเอียด เมื่อมีการขยายภาพนั่นเอง ภาพแบบ Vector ที่หลายๆ ท่านคุ้นเคยก็คือ ภาพ .wmf ซึ่งเป็น clipart ของ Microsoft Office นั่นเอง นอกจากนี้คุณจะสามารถพบภาพฟอร์แมตนี้ได้กับภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator หรือ Macromedia Freehand
3. คลิปอาร์ต (Clipart) เป็นรูปแบบของการจัดเก็บภาพ จำนวนมากๆ ในลักษณะของตารางภาพ หรือห้องสมุดภาพ หรือคลังภาพ เพื่อให้เรียกใช้ สืบค้น ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว
4. HyperPicture มักจะเป็นภาพชนิดพิเศษ ที่พบได้บนสื่อมัลติมีเดีย มีความสามารถเชื่อมโยงไปยังเนื้อหา หรือรายละเอียดอื่นๆ มีการกระทำ เช่น คลิก (Click) หรือเอาเมาส์มาวางไว้เหนือตำแหน่งที่ระบุ (Over)

คอมพิวเตอร์กราฟฟิก
........คอมพิวเตอร์กราฟฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การทำ Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตามจินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่างๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามที่ผู้สื่อสาร ต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น
........ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
-กราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์
-กราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3Ds Max โปรแกรม Maya เป็นต้น

ดังนั้น กราฟิกแบบ 2 มิติ คือ ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ โดยมีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ สามารถมองเห็นตามแนวแกน X(ความกว้าง) กับ แกน Y(ความยาว) ซึ่งต่างจาก 3 มิติ ซึ่ง 3 มิติ นั้นจะมีแกน Z (ความหนาหรือความสูง) เพิ่มเข้ามา ทำให้เราเห็นเป็นรูปร่างที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

ส่วนรูปแบบหรือนามสกุลไฟล์ก็จะเป็น format รูปภาพทั่วๆไป เช่น .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF, .WMF, .PNG เป็นต้น ซึ่งสามารถใช้โปรแกรม Adobe Photoshop, Illustrator, Freehand, Firework, Microsoft Visio, CorelDraw, GIMP เป็นต้น


ข้อ 4 นักศึกษาคิดว่าคอมพิวเตอร์กราฟฟิกสำคัญอะไรในการใช้ชีวิตประจำวัน

คอมพิวเตอร์กราฟิก


ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิกกราฟิก           หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซื่งใช้การสื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ
 เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้รับสารต้องการ
        คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ เช่น

 การทำตกแต่งภาพที่เรียกว่า Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่าง ๆ
 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ในปี ค.ศ. 1940 คอมพิวเตอร์จะแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ โดยรูปภาพที่ได้จะเป็นภาพที่เกิดจากการใช้ตัวอักษรมาประกอบกัน
 ในปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซสต์
( Massachusetts Institue Technology : MIT] ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลอดภาพ CRT(CathodeRayTube)เป็นส่วนแสดงผล
แทนเครื่องพิมพ์เนื่องจากมีความต้องการที่จะให้การติดต่อระหว่างผู้ใช้
กับเครื่องคอมพิวเตอร์มีความเร็วยิ่งขึ้น ในปี ค.ศ. 1950 ระบบ SAGE (Semi - Automatic Ground Environment)
ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาสามารถแปลงสัญญาณจากเรดาร์ ให้เป็นภาพบนจอ
คอมพิวเตอร์ได้ ระบบนี้เป็นระบบกราฟิก เครื่องแรกที่ใช้ปากกาแสง ( Light Pen : เป็นอุปกรณ์สำหรับรับข้อมูลชนิดหนึ่ง)
สำหรับการเลือกสัญลักษณ์ บนจอภาพได้ ในปี ค.ศ. 1950 - 1960
มีการทำวิจัยเรื่องเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมาก
ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 1963 วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ( Ivan Sutherland) เป็นการพัฒนาระบบการวาดเส้น ซึ่งผู้ใช้สามารถกำหนดจุดบนจอภาพได้โดยตรงโดยการใช้ปากกาแสง จากนั้นระบบกราฟิกจะสามารถลากเส้นเชื่อมจุดต่างๆ เหล่านี้เข้าด้วยกัน กลายเป็นภาพโครงสร้างรูปหลายเหลี่ยม
ระบบนี้ได้กลายเป็นหลักการพื้นฐานของโปรแกรมช่วยในการออกแบบระบบงานต่างๆ เช่น การออกแบบระบบไฟฟ้า และการออกแบบเครื่องจักร เป็นต้น ในระบบหลอดภาพ CRT สมัยแรกนั้น
เราสามารถวาดเส้นตรงระหว่างจุดสองจุดบนจอภาพได้ แต่ภาพเส้นที่วาดจะจางหายไปจากจอภาพอย่างรวดเร็ว จึงต้องมีการวาดซ้ำลงที่เดิมหลายๆ ครั้งในหนึ่งวินาที เพื่อให้เราสามารถมองเห็นว่า
เส้นไม่จางหายไป ซึ่งระบบแบบนี้มีราคาแพงมากในช่วงต้นปี ค.ศ. 1960
แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 1965 จึงมีราคาถูกลงเนื่องจากบริษัท ไอบีเอ็ม ( IBM) ได้ผลิตออกมาขายเป็นจำนวนมากในราคาเครื่องละ 100,000 ดอลลาร์ จากการที่ราคาของจอภาพถูกลงมากนี่เอง
ทำให้สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มเป็นที่สนใจของคนทั่วไป นปี ค.ศ. 1968 บริษัท เทคโทรนิกส์ ( Tektronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าต้องการจะลบ ( Storage - Tube CRT)
ซึ่งระบบนี้ไม่ต้องการหน่วยความจำและระบบการวาดซ้ำ จึงทำให้ราคาถูกลงมาก บริษัทตั้งราคาขายไว้เพียง 15,000 ดอลลาร์เท่านั้น จอภาพแบบนี้จึงเป็นที่นิยมกันมากในช่วงเวลา 5 ปี ต่อมา กลางปี
ค.ศ. 1970 เป็นช่วงเวลาที่อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์เริ่มมีราคาลดลงมาก ทำให้ฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกมีราคาถูกลงตามไปด้วย ผู้ใช้ทั่วไปจึงสามารถนำมาใช้ในงานของตนได้
ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มแพร่หลายไปในงานด้านต่างๆ มากขึ้น
สำหรับซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกก็ได้มีการพัฒนาควบคู่มากับฮาร์ดแวร์เช่นกัน ซึ่งมีการเริ่มต้นจาก อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ผู้ซึ่งได้ออกแบบวิธีการหลักๆ รวมทั้งโครงสร้างข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร
์ กราฟิก ต่อมาก็มี สตีเฟน คูน ( Steven Coons, 1966) และ ปิแอร์ เบเซอร์ ( Pierre Bazier , 1972) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการสร้างเส้นโค้งและภาพพื้นผิว ทำให้ปัจจุบันเราสามารถสร้างภาพ 3 มิติ ได้สมจริงสมจัง
มากขึ้น ในช่วง 10 ปีต่อมาได้มีการพัฒนาวิธีการสร้างภาพมากมายสำหรับใช้ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก และปัจจุบันเราก็ได้เห็นผลงานที่สวยงามและแปลกตา ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาวิจัยต่างๆ
ในอดีตนั่นเอง
 

บทที่1-2


งาน บทที่ 1-2 
1.ส่วนประกอบของโปรแกรม  Photoshop  cs 4
รู้จักกับ Photoshop CS4
หน้าต่างการทำงานเริ่มต้น

          เมื่อเรียกเปิดโปรแกรมเข้ามาครั้งแรก จะพบกับพื้นที่การทำงานเริ่มต้นแบบว่างๆ (พื้นที่สีเทาดำ) และจะจัดวางเครื่องมือการทำงานเบื้องต้นเอาไว้รอบๆ ดังภาพ

ส่วนประกอบของโปรแกรม

 แอพพลิเคชั่นบาร์(Application Bar)
          
          จะเป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้งานบ่อยๆ เอาไว้ เช่น เปิดโปรแกรม Bridge หมุนพื้นที่ทำงาน ย่อ-ขยายภาพจัดเรียงวินโดว์ภาพและจัดองค์ประกอบของเครื่องมือ

เมนูบาร์(Menu Bar)

          Menu Bar หรือแถบคำสั่งที่เก็บชุดคำสั่งสำหรับจัดการไฟล์งานที่เปิดใช้งาน ใน Photoshop Cs4 โดยแบ่งการทำงานออกเป็นหมวดหมู่ดังนี้


1. File ใช้จัดการไฟล์ลักษณะต่างๆเช่น การสร้างไฟล์ใหม่,การเปิดไฟล์ภาพ,การบันทึก,การนำเข้าไฟล์      และการส่งออกไฟล์เพื่อการทำงานในลักษณะต่างๆ

2. Edit เป็นชุดคำสั่งในหมวดหมู่การแก้ไข เช่น การตัด ,คัดลอก,การวาง รวมถึงการปรับแต่งค่าเบื่องต้นของโปรแกรม

3.  Image เป็นชุดคำสั่งในหมวดหมู่การปรับแต่งภาพ เช่นการปรับสี ,แสงความคมชัด ,การลดขนาดภาพและเพิ่มขนาดพื้นที่ใช้งาน เป็นต้น

4.  Layer เป็นชุดคำสั่งที่ใช้จัดการกับเลเยอร์ ทั้งการสร้างเลเยอร์ใหม่ แปลงเลเยอร์และจัดการเลเยอร์ด้านต่างๆ

5.  Select เป็นชุดคำสั่งที่ใส้สำหรับเลือกพื้นที่การใช้งานของรูปภาพ หรือใช้ร่วมกับคำสั่งที่อยู่ในทูลพาเนล

6.  Filter เป็นนชุดคำสั่งที่รวมเอฟเฟ็คต่างที่ใช้ในการปรับแต่งรูปภาพให้พิเศษกว่าภาพต้นฉบับ

7.  Analysis เป้นเครื่องมือวัดค่าและวิเคราะห์การทำงาน มีใช้ในPhotoshop CS4

8.  3D รวมคำสั่งที่ใช้กับภาพสามมิติ เป็นเมนูใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในPhotoshop CS4

9.  View ใช้เลือกรูปแบบการแสดงผล เช่น การซูมภาพ,การเรียกใช้ไม่บรรทัด,การแสดงเส้นกริดและเส้นไกด์

10.  Window ใช้เลือกแสดงพาเนลที่ใช้ในการทำงาน รวมถึงการกำหนดรูปแบบการแสดงวินโดว์ในแบบต่างๆ

11.  Help ใช้แสดงความช่วยเหลือของรายละเอียดการใช้งานโปรแกรมในรูปแบบต่างๆ

ทูลบ็อกซ์ (Toolbox)

          กล่องเครื่องมือ จะประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการวาด ตกแต่ง และแก้ไขภาพ เครื่องมือเหล่านี้มีจำนวนมาก ดังนั้นจึงมีการรวมเครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้ายๆ กันไว้ในปุ่มเดียวกัน

Panel (พาเนล)

          พาเนล คือ กรอบหน้าต่างย่อยๆที่มีคำสั่งและเครื่องมือในการจัดการ ตรวจสอบและปรับแต่งภาพ เครื่องมือเหล่านี้จะถูกจัดแบ่งไว้เป็นหมวดหมู่ เช่น พาเนล Color ใช้กำหนดสี พาเนล Layers ใช้สำหรับจัดการเลเยอร์ เป็นต้น บางพาเนลที่มักใช้ร่วมกันจะถูกจัดไว้ในกลุ่มเดียวกัน เช่น พาเนล Color พาเนลSwatches และ StyLes การเปิดใช้งาน Panel ให้คลิกที่คำสั่ง Windos>ชื่อพาเนล



การยุบ/ขยายพาเนล

          เพื่อเพิ่มพื้นที่การทำงานเราสามารถยุบพาเนลที่ยึดกับแผงพาเนลและคอลัมน์ให้แสดงในรูปไอคอนได้ ซึ่งเมื่อต้องการใช้งานพาเนลใดก็ให้เปิดขึ้นมาเฉพาะพาเนลนั้น

1.  ยุบ/ขยายแผงพาเนลให้เป็นไอคอน ทำได้โดยให้คลิกที่แถบสีเทาเข้มด้านบนแผงพาเนล จากนั้นทุกพาเนลจะถูกยุบเป็นไอคอน




2.ปรับความกว้างของพาเนล



 
Credit : ThaiwebParty.com
2.เครื่องมือที่สำคัญ  ๆ   สำหรับใช้แต่ง ประกอบไปด้การใช้โปรแกรมPhotoshop

โปรแกรม Photoshop คืออะไร
โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมสำหรับสร้างภาพ และตกแต่งภาพ ซึ่งเป็นลิขสิทธิของบริษัท Adobe ซึงบริษัท Adobe มีผลิตภัณฑ์ซอฟแวร์เกียวกับด้านกราฟิก มากมายเช่น Adobe illustrator สำหรับทำ ภาพเวกเตอร์ Adobe Pemiretor สำหรับตัดต่อภาพยนต์ ฯลฯ โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมตกแต่งภาพทีได้รับความนิยมมาก เนืองจากเป็นโปรแกรมทีใช้ง่าย และรองรับApplication (Plug In) เสริมได้มากมาย

ลักษณะเด่นของ Photoshop
1. Photoshop ทำงานเป็น Layer
ลักษณะการทำงานของ Photoshop จะเหมือนการวางแผ่นใสซ้อนๆ กัน โดยแต่ละแผ่นจะมีการทำงาน ต่างกัน แต่เมือรวมกันแล้วจะเป็นแค่ภาพภาพเดียว แต่ละแผ่นใส(Layer) สามารถสลับไปมาได้


 
2. รูปแบบคำสั่งเป็นแบบ Interface Enhancement ไอคอนและปุ่มคำสั่งต่างๆ จะอยู่ในรูปแบบของ Toolbox , Toolbar และ Dialog Box ซึ่งจัดไว้เป็นหมวดหมู่ โดยคลิกเพื่อใช้งาน และจะมีการตอบโต้ การใช้งานเป็นแบบ มิติ คือ เมื่อคลิกปุ่มจะยุบลงไป


 

3. สนับสนุนการทำการบนเว็บไซต์
เนื่องจากไฟล์ภาพที่ใช้บนเว็บไซต์มีหลายประเภท และโปรแกรม Photoshopสามารถ สร้างภาพที่ใช้งานบนเว็บไซต์ได้หลากหลาย

เตรียมเครื่องให้พร้อมก่อนใช้งาน สำหรับเครื่อง PC
ระบบปฏิบัติการ Windows XP , Windows Vista , Windows 7
- CPU เพนเทียม III ขึ้นไป แรม1 28 mb เป็นอย่างน้อย
การ์ดจอที่แสดงสีได้ระดับ 16 bit ขึ้นไป
ควรใช้ จอภาพที่แสดงผลด้วยความละเอียด 800*600 ขึ้นไป
- CD Rom สำหรับอ่านแผ่น CD

เริ่มต้นใช้งาน Photoshop CS2
1. วิธีการเข้าสู่โปรแกรม Photoshop Cs2 คลิกที่ไอคอนโปรแกรมดังรูป

 
(ดับเบิ้ลคลิก ทีไอคอนดังรูปเพื่อเข้าโปรแกรมP hotoshop Cs2)


 
2. หน้าตาของโปรแกรม Photoshop CS2




Panel คืออะไร
panel เป็นแถบที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงาน ซึ่งมีหลายแบบด้วยกัน เช่น panel Layer ,History และ Navigator ซึ่ง panel ที่จำเป็นในการใช้งาน จะมีดังนี้
1. Navigator ใช้สำหรับขยายมุมมองการทำงานของพื้นที่การทำงาน
2. History ใช้สำหรับ การย้อนกลับการกระทำต่างๆ เมื่อผิดพลาด
3. Layer ใช้สำหรับการสร้างและลบ layer ต่างๆ


วิธีการเปิด/ปิด Panel
สามารถทำได้โดยไปที่เมนู Windows > แล้วเลือก Panel ที่ต้องการใช้

ชนิดไฟล์ในโปรแกรม Photoshop

.psd (Photoshop File) : เป็นไฟล์พื้นฐานของโปรแกรม Photoshop สามารถเก็บบันทึกข้อมูล
คุณลักษณะต่างๆ ที่ใช้ใน Photoshop ไม่ว่าจะเป็น Layer , สี หรือ Effect ต่างๆ
.bmp (Bitmap file) : เป็นไฟล์พื้นฐานของ Windows
.gif (Graphic Interchange) : เป็นไฟล์ที่ใช้กันมากบนอินเตอร์เน็ต เพราะง่ายต่อการบีบอัดข้อมูล เพราะ มี
ขนาดเล็ก
.jpg (Joint Photographic experts Group) : เป็นไฟล์นิยมใช้บนอินเตอร์เน็ตเช่นกันจะแตกต่างกันที่ไฟล์นี้ จะ
มีความละเอียดของภาพค่อนข้างชัดเจน


การเปิดไฟล์
การเรียกไฟล์ภาพหรือไฟล์ psd นำขึ้นมาใช้สามารถทำได้โดย ไปที่เมนู File > Open หรือคีย์ลัด Ctrl+O

 

การเปิดไฟล์ก่อนหน้านี้ด้วยคำสั่ง Open Recent ไปที่เมนู File>Open Recentแล้วเลือกไฟล์ทีเคยเปิดไว้อยู่แล้วได้จากคำสั่งนี้


 

การสร้างภาพใหม่
นอกจากการนำภาพมาใช้งานแล้วเราสามารถสร้างภาพขึ้น มาให้ด้วยพื้นที่การทำงานที่เราสร้างได้เองด้วย โดยการไปที่เมนู File>New หรือคีย์ลัด Ctrl+N



รายละเอียดการกำหนดขนาดพื้นที่ใหม่



การบันทึกไฟล์
การบันทึกไฟล์ของ Photoshop มีสองแบบคือ บันทึกเพื่อนำมาแก้ไขได้ภายหลัง และบันทึกนำไปใช้งานบเว็บไซต์

1. การบันทึกงานเพื่อนำมาแก้ไขภายหลัง สามารถทำได้โดย ไปที่เมนูFile>save as…

 

2. วิธีการเซฟนำไปใช้บนเว็บไซต์ สามารถทำได้โดย การไปที่เมนู File > Save for Web



 
จะปรากฏแถบข้อมูลการ Save for Web



 
** การเลือกประเภทไฟล์ในช่อง preset นั้นขึ้นอยู่กับงานที่จะนำไปใช้



การใช้เครื่่องมือ Selection (Marquee Tool) ใช้ในการเลือกส่วนของรูปภาพเพื่อการคัดลอกหรือใส่effect ต่างๆ ให้กับส่วนที่เลือก และมักใช้กับ คำสั่ง Copy , Cut ,Delและ คำสั่ง paste

 

การใช้เครื่องมือ Selection (Lasso Tool)เป็นการเลือกส่วนของรูปภาพเช่นกัน แต่จะเป็นการเลือกแบบอิสระสามารถกำหนดส่วนที่เลือกได้เอง


การใช้เครื่องมือ Magic wand tool



เป็นการ Selection โดยอาศัยค่าสีที่ใกล้เคียงกัน โดยโปรแกรมจะเลือกสีที่มีความคล้ายกับสีที่เลือก

การใช้เครื่องมือในการระบายสีหรือแก้ไขภาพ
Healing Brush Toolใช้เกลี่ยรอยต่างๆ โดยจะทำการรักษาโทนสี ความสว่างให้ใกล้เคียงกับของเดิมอัตโนมัติ เวลาใช้ต้องกด ปุ่มA lt ร่วมด้วย

การใช้ Brush Tool




การใช้เครื่องมือในการคัดลอกClone Stamp Tool


 
เป็นการใช้เพื่อการคัดลอกบางส่วนของภาพให้เหมือนต้นฉบับเดิม ต้องกดปุ่มA lt ร่วมด้วย



 

การใช้ Paint Bucket Tool ใช้สำหรับการเติมสีลงวัตถุที่ต้องการ

 

การลบวัตถุด้วย Eraser Tool ใช้ในการลบวัตถุที่ต้องการ

 

 

เครื่องมือในการพิมพ์ตัวอักษร สามารถพิมพ์ข้อความหรือตัวอักษรได้ จากType Tool


 

เครื่องมือในการวาดรูปทรง Shape Tool


การเลือกสีโดยใช้ Eyedropper Tool
การเลือกสีโดยใช้ Eyedropper นั้นเป็นการเลือกสี ที่เราไม่ทราบเฉดสีที่แน่นอนทำให้ยากต่อการเลือกเราจึงใช้เครืองมือนีในการดูดเฉดสีทีเราต้องการจากต้นฉบับโดยใช้เครื่องมือนี้ได้

 

การเลือกสี Foreground และ Backgroud เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับการเลือกสีที่ต้องการ


 

การทำ Effect ให้กับ Layer
การเติม Effect ต่างๆให้กับ Layer และรูปภาพ เช่น การใส่เส้นขอบ การทำตัวนูน การใส่เงา ฯลฯ สามารถทำได้โดย การไปที่เมนู Layer > Layer Style > แล้วเลือก effect ที่ต้องการ

วยกลุ่มเครื่องมืออะไร
3. คอมพิวเตอร์กราฟิกส์หมายถึงอะไร
คำว่า กราฟิก (Graphic) มาจากภาษากรีก 2 คำคือ
1. Graphikos หมายถึง การวาดเขียน
2. Graphein หมายถึง การเขียน
ต่อมามีผู้ให้ความหมายของคำว่า กราฟิก” ไว้หลายประการซึ่งสรุปได้ดังนี้
........กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
กราฟิกประกอบด้วย
1. ภาพบิตแมพ (Bitmap) เป็นภาพที่มีการเก็บข้อมูลแบบพิกเซล หรือจุดเล็กๆ ที่แสดงค่าสี ดังนั้นภาพหนึ่งๆ จึงเกิดจากจุดเล็กๆ หลายๆ จุดประกอบกัน (คล้ายๆ กับการปักผ้าครอสติก) ทำให้รูปภาพแต่ละรูป เก็บข้อมูลจำนวนมาก เมื่อจะนำมาใช้ จึงมีเทคนิคการบีบอัดข้อมูล ฟอร์แมตของภาพบิตแมพ ที่รู้จักกันดี ได้แก่ .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF
2. ภาพเวกเตอร์ (Vector) เป็นภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นลักษณะต่างๆ และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเส้นนั้นๆ ซึ่งสร้างจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น ภาพของคน ก็จะถูกสร้างด้วยจุดของเส้นหลายๆ จุด เป็นลักษณะของโครงร่าง (Outline) และสีของคนก็เกิดจากสีของเส้นโครงร่างนั้นๆ กับพื้นที่ผิวภายในนั่นเอง เมื่อมีการแก้ไขภาพ ก็จะเป็นการแก้ไขคุณสมบัติของเส้น ทำให้ภาพไม่สูญเสียความละเอียด เมื่อมีการขยายภาพนั่นเอง ภาพแบบVector ที่หลายๆ ท่านคุ้นเคยก็คือ ภาพ .wmf ซึ่งเป็น clipart ของ Microsoft Office นั่นเอง นอกจากนี้คุณจะสามารถพบภาพฟอร์แมตนี้ได้กับภาพในโปรแกรม Adobe Illustrator หรือ Macromedia Freehand
3. คลิปอาร์ต (Clipart) เป็นรูปแบบของการจัดเก็บภาพ จำนวนมากๆ ในลักษณะของตารางภาพ หรือห้องสมุดภาพ หรือคลังภาพ เพื่อให้เรียกใช้ สืบค้น ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว
4. HyperPicture มักจะเป็นภาพชนิดพิเศษ ที่พบได้บนสื่อมัลติมีเดีย มีความสามารถเชื่อมโยงไปยังเนื้อหา หรือรายละเอียดอื่นๆ มีการกระทำ เช่น คลิก (Click) หรือเอาเมาส์มาวางไว้เหนือตำแหน่งที่ระบุ (Over)

คอมพิวเตอร์กราฟฟิก
........คอมพิวเตอร์กราฟฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การทำImage Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตามจินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนำเสนอข้อมูลต่างๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตามที่ผู้สื่อสาร ต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น
........ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
-กราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์
-กราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3Ds Max โปรแกรม Maya เป็นต้น

ดังนั้น กราฟิกแบบ 2 มิติ คือ ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ โดยมีลักษณะเป็น 2 มิติ คือ สามารถมองเห็นตามแนวแกน X(ความกว้าง) กับ แกน Y(ความยาว) ซึ่งต่างจาก 3 มิติ ซึ่ง 3 มิติ นั้นจะมีแกน Z (ความหนาหรือความสูง) เพิ่มเข้ามา ทำให้เราเห็นเป็นรูปร่างที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

ส่วนรูปแบบหรือนามสกุลไฟล์ก็จะเป็น format รูปภาพทั่วๆไป เช่น .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF, .WMF, .PNG เป็นต้น ซึ่งสามารถใช้โปรแกรม Adobe Photoshop, Illustrator, Freehand, Firework, Microsoft Visio, CorelDraw, GIMP เป็นต้น

สำหรับประโยชน์ของงานกราฟิกกับสังคมปัจจุบัน
- กราฟิกกับสังคมปัจจุบัน
........ปัจจุบันเทคโนโลยีได้วิวัฒนาการไปค่อนข้างรวดเร็ว การใช้ระบบการติดต่อสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น มีการกระจายของข้อมูลไปอย่างรวดเร็ว โดยอาจเป็นการกระจายข้อมูล จาก ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง และการที่จะให้คนอีกซีกโลกหนึ่งเข้าใจความหมายของคนอีกซีกโลกหนึ่งนั้นเป็นเรื่องที่ไม่สามารถทำได้ง่ายนักเนื่องมาจากความแตกต่างกันทั้งทางด้านขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม สภาพภูมิประเทศ สภาพดินฟ้าอากาศความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น ดังนั้นการใช้งานกราฟิกที่ดีที่สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนถูกต้อง จะช่วยให้มนุษย์สามารถสื่อสารกันได้ เข้าใจกันได้ เกินจินตนาการร่วมกัน อีกทั้งยังเกิดทัศนคติที่ดีต่อกันด้วย หรือถึงขั้นคล้อยตามให้ปฏิบัติตามได้
7 เดือน ผ่านไป

4.นักศึกษาคิดว่าคอมพิวเตอร์กราฟิกส์มีความสำคัญอย่างไรในชีวิตประจำวัน
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในเรื่องต่าง ๆ เป็นอย่างมาก คอมพิวเตอร์ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ในสถาบันการศึกษามีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการเรียนการสอนในสถานศึกษา โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ซึ่งเหมาะสมกับการใช้งานออกแบบ จึงควรจะต้องเรียนรู้และนำมาใช้ในการเขียนแบบออกแบบงานสถาปัตยกรรม และงานตกแต่งภายใน เทคนิคการออกแบบและการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์จึงเป็นที่นิยม และเพิ่มปริมาณการใช้ขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา เป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักออกแบบต้องมีความรู้ในเรื่องโปรแกรมสำเร็จรูปเกี่ยวกับงานออกแบบตกแต่งภายในและต้องมีทักษะในการใช้ออกแบบเพื่อนำไปออกแบบ และนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามามีบทบาทอย่างมากในทางการตลาด สามารถนำเสนองานให้เห็นเหมือนกับของจริงที่ยังไม่ได้ดำเนินการ เป็นการชักจูงโน้มน้าวการตัดสินใจในการซื้อของลูกค้าเป็นอย่างดีทำให้ลูกค้าตัดสินใจได้รวดเร็ว

                ระยะช่วงสมัยที่เรียกว่าเป็นยุคดิจิตัล (Digital) เครื่องมืออุปกรณ์อีเลกทรอนิกส์สมัยใหม่ คือ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก คอมพิวเตอร์ที่นำเข้ามาในการเรียนการสอนวิชาศิลปะจะเป็นคอมพิวเตอร์กราฟิก ซึ่งเหมาะสมกับการใช้งานในการสร้างงานศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การเขียนภาพ หรือสร้างภาพโดยใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก เป็นข้อมูลที่แสดงในรูปของ เส้นกราฟ แผนภาพ แผนภูมิ รูปภาพ ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบันเนื่องจากมีความสะดวกรวดเร็วในการนำเสนอ และแก้ไขงานได้ทันที บุคลากรทุกหน่วยงานไม่ว่าเป็นภาครัฐหรือภาคเอกชน นิยมใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานศิลปกรรมเป็นส่วนมาก ทำให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกเติบโตใช้ในธุรกิจโฆษณาและวงการภาพยนตร์อย่างแพร่หลาย ภาพเคลื่อนไหว(Animation) คอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มมีมาตั้งแต่ ค.ศ.1940 โดยรูปภาพที่ได้เกิดจากการนำเอาตัวอักษรมาประกอบกันเป็นรูปภาพ ต่อมา ปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซานซูเซตส์ (MIT) ได้คิดพัฒนาหลอดภาพCRT (Cathode Ray Tube) ขึ้นใช้เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ เนื่องจากต้องการให้มีความรวดเร็วมากขึ้น ในขณะที่กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาใช้ระบบSAGE แปลงสัญญาณจากเรดาร์ให้เป็นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ และเป็นครั้งแรกที่ใช้ปากกาแสง ต่อมาในปี ค.ศ.1963 อีวาน ซูเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland). ได้ทำปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต ใช้ปากกาแสงกำหนดจุดบนจอภาพแทนระบบการวาดเส้น และเชื่อมโยงจุดต่างๆกลายเป็นโครงสร้างภาพรูปหลายเหลี่ยมเป็นพื้นฐานการออกแบบระบบงาน การออกแบบระบบไฟฟ้า และการออกแบบเครื่องจักร

ในปี ค.ศ. 1968 บริษัทเทคโทรนิกซ์ (Tectronix) ได้ผลิตจอภาพแบบใหม่ขึ้น และมีราคาถูกลงกว่าเดิมมาก จากราคาเดิมราคาเครื่องละ 100,000 ดอลลาร์ ในขณะที่เครื่องแบบใหม่ราคา15,000 ดอลลาร์ ในปีค.ศ.1970 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีราคาถูกลงมาก ทำให้คอมพิวเตอร์กราฟิกแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกมีการพัฒนาควบคู่มากับฮาร์ดแวร์อย่างต่อเนื่อง ควบคู่กันมาจากการเริ่มต้นปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์(Ivan Sutherland) มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ควบคู่กับฮาร์ดแวร์มาอย่างต่อเนื่อง สตีเฟน คูนส์ (Steven Coons) และ ปิแอร์ เบเซอร์ (Pieere Bazier) ได้พัฒนาซอฟต์แวร์สร้างการเขียนเส้นโค้ง และพื้นผิวภาพ ทำให้สามารถสร้างภาพ 3 มิติได้สมจริง ในปัจจุบันได้พัฒนาการเขียนรูปได้เหมือนจริงมากขึ้นและทำให้ภาพเคลื่อนไหวเหมือนจริง ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้มาก เช่น ในด้านการค้า การอุตสาหกรรม การศึกษา การฝึกอบรม การจำลองสถานการณ์ การนำเสนอภาพทัศนียภาพในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม หรืองานออกแบบตกแต่งภายใน โปรแกรมพื้นฐานที่นักออกแบบทุกคนจะต้องเรียนรู้ในการสร้างงานกราฟิกมี 2 ชนิด คือ โปรแกรมประเภทวาดภาพ